ตัวอย่างการทำแบบฝึกหัด 5.1 หนังสือเรียนวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม. 1 เล่ม 1 พ.ศ. 2560 (หลักสูตร 2551)

เฉลยแบบฝึกหัด ตัวอย่างการทำแบบฝึกหัด 5.1

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1 ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560 (ตามหลักสูตรแกนกลาง พ.ศ. 2551)

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

ISBN 978-616-362-779-7







VDO on Youtube.




ตัวอย่างการทำแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4 หนังสือเรียนวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม. 1 เล่ม 1 พ.ศ. 2560 (หลักสูตร 2551)

เฉลยแบบฝึกหัด ตัวอย่างการทำแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1 ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560 (ตามหลักสูตรแกนกลาง พ.ศ. 2551) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ ISBN 978-616-362-779-7



สรุป คณิตศาสตร์ ม.1 เล่ม 1 บทที่ 4 ทศนิยมและเศษส่วน

 การเปรียบเทียบทศนิยม 

1. ทศนิยมที่เป็นจำนวนบวกมากกว่าทศนิยมที่เป็นจำนวนลบเสมอ

2. การเปรียบเทียบทศนิยมที่เป็นจำนวนลบสองจำนวนใดๆ ให้นำค่าสัมบูรณ์ของทศนิยมทั้งสองมาเปรียบเทียบกัน โดยทศนิยมที่มีค่าสัมบูรณ์น้อยกว่าจะเป็นทศนิยมที่มากกว่า


การบวกทศนิยม

ทำได้โดยนำเลขโดดที่อยู่ในหลักเดียวกันมาบวกกันตามหลักเกณฑ์การบวก ดังนี้ 

1. การบวกทศนิยมที่เป็นจำนวนลบด้วยทศนิยมที่เป็นจำนวนลบ ให้นำค่าสัมบูรณ์ของทศนิยมทั้งสองจำนวนมาบวกกัน แล้วตอบเป็นทศนิยมที่เป็นจำนวนลบ

2. การบวกกันของทศนิยมที่เป็นจำนวนบวกกับทศนิยมที่เป็นจำนวนลบ ให้นำค่าสัมบูรณ์ที่มากกว่าลบด้วยค่าสัมบูรณ์ที่น้อยกว่า แล้วตอบเป็นทศนิยมที่เป็นจำนวนบวกหรือจำนวนลบตามทศนิยมที่มีค่าสัมบูรณ์มากกว่า


การลบทศนิยม

ให้เขียนการลบในรูปของการบวกตามข้อตกลงดังนี้


ตัวตั้ง - ตัวลบ = ตัวตั้ง + จำนวนตรงข้ามของตัวลบ


แล้วจึงหาผลบวกของทศนิยม


การคูณทศนิยม

เพื่อความสะดวก อาจทำได้โดยละจุดทศนิยม แล้วนำมาคูณเช่นเดียวกับการคูณจำนวนนับ ถ้าตัวตั้งเป็นทศนิยมที่มี a ตำแหน่ง ตัวคูณเป็นทศนิยมที่มี b ตำแหน่ง ผลคูณจะเป็นทศนิยมที่มี a + b ตำแหน่ง แล้วตอบเป็นจำนวนบวกหรือจำนวนลบตามหลักเกณฑ์การคูณดังนี้ 

1. การคูณทศนิยมที่เป็นจำนวนลบด้วยทศนิยมที่เป็นจำนวนลบ จะได้ผลคูณเป็นทศนิยมที่เป็นจำนวนบวก และมีค่าเท่ากับผลคูณของค่าสัมบูรณ์ของสองจำนวนนั้น  

2. การคูณระหว่างทศนิยมที่เป็นจำนวนบวกกับทศนิยมที่เป็นจำนวนลบ จะได้ผลคูณเป็นทศนิยมที่เป็นจำนวนลบ และมีค่าสัมบูรณ์ของผลคูณเท่ากับผลคูณของค่าสัมบูรณ์ของสองจำนวนนั้น


การหารทศนิยม

ทำได้โดยทำตัวหารให้เป็นจำนวนนับก่อน แล้วจึงหาผลหาร ในกรณีที่หาผลหารโดยใช้วิธีหารยาว ให้เขียนจุดทศนิยมของผลหารให้ตรงกับจุดทศนิยมของตัวตั้ง แล้วตอบเป็นจำนวนบวกหรือจำนวนลบตามหลักเกณฑ์การหารดังนี้ 

1. ถ้าตัวตั้งและตัวหารเป็นทศนิยมที่เป็นจำนวนลบทั้งคู่ ให้นำค่าสัมบูรณ์ของตัวตั้งหารด้วยค่าสัมบูรณ์ของตัวหาร แล้วตอบเป็นทศนิยมที่เป็นจำนวนบวก 

2. ถ้าตัวตั้งหรือตัวหารตัวใดตัวหนึ่งเป็นทศนิยมที่เป็นจำนวนลบ โดยที่อีกตัวหนึ่งเป็นทศนิยมที่เป็นจำนวนบวก ให้นำค่าสัมบูรณ์ของตัวตั้งหารด้วยค่าสัมบูรณ์ของตัวหาร แล้วตอบเป็นทศนิยมที่เป็นจำนวนลบ 


การเปรียบเทียบเศษส่วน

1. เศษส่วนที่เป็นจำนวนบวกมากกว่าเศษส่วนที่เป็นจำนวนลบเสมอ 

2. การเปรียบเทียบเศษส่วนที่เป็นจำนวนลบ ให้ทำตัวส่วนให้เป็นจำนวนบวกที่เท่ากัน และพิจารณาจากตัวเศษที่เป็นจำนวนลบ ถ้าเศษส่วนใดมีตัวเศษมากกว่า เศษส่วนนั้นจะมากกว่า


การบวกเศษส่วน

ทำเศษส่วนทั้งสองให้มีตัวส่วนเป็นจำนวนเต็มบวกที่เท่ากัน แล้วจึงนำตัวเศษมาบวกกันตามหลักเกณฑ์การบวกจำนวนเต็ม 


การลบเศษส่วน

ให้เขียนการลบในรูปของการบวกตามข้อตกลงดังนี้ 


ตัวตั้ง - ตัวลบ = ตัวตั้ง + จำนวนตรงข้ามของตัวลบ


แล้วจึงหาผลบวกของเศษส่วน


การคูณเศษส่วน

เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังนี้

เมื่อ และ  เป็นเศษส่วนใดๆ 


                            



การหารเศษส่วน

เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังนี้

เมื่อ และ  เป็นเศษส่วนใดๆ โดยที่ c ≠ 0


                            




อ้างอิง : สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. 2562. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1. 7. กรุงเทพมหานคร 

ตัวอย่างการทำแบบฝึกหัด 4.7 หนังสือเรียนวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม. 1 เล่ม 1 พ.ศ. 2560 (หลักสูตร 2551)

 เฉลยแบบฝึกหัด ตัวอย่างการทำแบบฝึกหัด 4.7

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1 ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560 (ตามหลักสูตรแกนกลาง พ.ศ. 2551)

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

ISBN 978-616-362-779-7




ความสัมพันธ์ระหว่างทศนิยมและเศษส่วน

 0.4   เขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนเป็น

-0.57 เขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนเป็น




 เขียนให้อยู่ในรูปทศนิยมเป็น -0.7

เขียนให้อยู่ในรูปทศนิยมเป็น 0.123








ตัวอย่างการทำแบบฝึกหัด 4.6 ข หนังสือเรียนวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม. 1 เล่ม 1 พ.ศ. 2560 (หลักสูตร 2551)

เฉลยแบบฝึกหัด ตัวอย่างการทำแบบฝึกหัด 4.6 ข

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1 ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560 (ตามหลักสูตรแกนกลาง พ.ศ. 2551)

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

ISBN 978-616-362-779-7




การหารเศษส่วน

การหารเศษส่วนด้วยเศษส่วน ทำได้โดยคูณเศษส่วนที่เป็นตัวตั้งด้วยส่วนกลับของเศษส่วนที่เป็นตัวหาร


เมื่อและเป็นเศษส่วนใดๆ โดยที่ c ≠ 0

จะได้ 


ตัวอย่าง จงหาผลหาร
วิธีทำ

ตอบ

เศษส่วนไม่มีสมบัติการสลับที่สำหรับการหาร

เศษส่วนไม่มีสมบัติการเปลี่ยนหมู่สำหรับการหาร

อ้างอิง : สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. 2562. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1. 7. กรุงเทพมหานคร 

ตัวอย่างการทำแบบฝึกหัด 4.6 ก หนังสือเรียนวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม. 1 เล่ม 1 พ.ศ. 2560 (หลักสูตร 2551)

 เฉลยแบบฝึกหัด ตัวอย่างการทำแบบฝึกหัด 4.6 ก

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1 ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560 (ตามหลักสูตรแกนกลาง พ.ศ. 2551)

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

ISBN 978-616-362-779-7




การคูณเศษส่วน

หลักการคูณเศษส่วนคือ นำตัวเศษมาคูณกับตัวเศษและนำตัวส่วนมาคูณกับตัวส่วน 

เมื่อ และ 




ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลคูณ

วิธีทำ   





ตอบหรือ





การคูณเศษส่วน มีสมบัติดังต่อไปนี้
1. สมบัติการสลับที่
2. สมบัติการเปลี่ยนหมู่
3. สมบัติการคูณด้วยศูนย์
4. สมบัติการคูณด้วยหนึ่ง

1. สมบัติการสลับที่สำหรับการคูณ
ในการคูณเศษส่วน เราสามารถสลับที่ระหว่างตัวตั้งและตัวคูณได้ โดยที่ผลลัพธ์ยังคงเท่าเดิม
เมื่อ a และ b เป็นเศษส่วนใดๆ 
a x b = b x a


เช่น  



2. สมบัติการเปลี่ยนหมู่สำหรับการคูณ
เมื่อมีเศษส่วนสามจำนวนขึ้นไปมาคูณกัน เราสามารถคูณเศษส่วนคู่ใดก่อนก็ได้ โดยที่ผลลัพธ์สุดท้ายยังคงเท่ากัน 
เมื่อ a, b และ c เป็นเศษส่วนใดๆ 
(a x b) x c = a x (b x c)

เช่น 

3. สมบัติการคูณด้วยศูนย์ 
การคูณเศษส่วนใดๆ ด้วยศูนย์หรือการคูณศูนย์ด้วยเศษส่วนใดๆ จะได้ผลคูณเท่ากับศูนย์เสมอ 

เมื่อ  a เป็นเศษส่วนใดๆ 
a x 0 = 0 = 0 x a

เช่น  


4. สมบัติการคูณด้วยหนึ่ง
การคูณเศษส่วนใดๆ ด้วยหนึ่งหรือการคูณหนึ่งด้วยเศษส่วนใดๆ จะได้ผลคูณเท่ากับเศษส่วนนั้นๆ เสมอ 

เมื่อ a เป็นเศษส่วนใดๆ 
a x 1 = a = 1 x a

เช่น



สมบัติการแจกแจง เป็นสมบัติที่แสดงความเกี่ยวข้องระหว่างการบวกและการคูณเศษส่วน 
เมื่อ a, b และ  c เป็นเศษส่วนใดๆ 
a x (b + c) = (a x b) + (a x c)

ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลลัพธ์
วิธีทำ 

ตอบ 


อ้างอิง : สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. 2562. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1. 7. กรุงเทพมหานคร 

ตัวอย่างการทำแบบฝึกหัด 4.5 ข หนังสือเรียนวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม. 1 เล่ม 1 พ.ศ. 2560 (หลักสูตร 2551)

เฉลยแบบฝึกหัด ตัวอย่างการทำแบบฝึกหัด 4.5 ข

หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1 ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560 (ตามหลักสูตรแกนกลาง พ.ศ. 2551)

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ

ISBN 978-616-362-779-7






การลบเศษส่วน

 1. เมื่อพิจารณาบนเส้นจำนวนจะพบว่า เศษส่วนที่เป็นจำนวนบวกและเศษส่วนที่เป็นจำนวนลบที่อยู่ห่างจากศูนย์เป็นระยะเท่ากัน จะอยู่คนละข้างของศูนย์ เช่น และ




 เป็นจำนวนตรงข้ามของ 


 เป็นจำนวนตรงข้ามของ 


และ 



เมื่อ a เป็นเศษส่วนใดๆ จำนวนตรงข้ามของ a มีเพียงจำนวนเดียว 
เขียนแทนด้วย -a และ a + (-a) = 0 = (-a) + a


2. จำนวนตรงข้ามของ เขียนแทนด้วย

จำนวนตรงข้ามของ คือ

เนื่องจากจำนวนตรงข้ามของ มีเพียงจำนวนเดียว 

ดังนั้น


เมื่อ a เป็นเศษส่วนใดๆ จำนวนตรงข้ามของ -a คือ a
นั่นคือ -(-a) = a


3. เมื่อ a และ b เป็นเศษส่วนใดๆ 
a - b = a + (-b) 
นั่นคือ 
ตัวตั้ง - ตัวลบ = ตัวตั้ง + จำนวนตรงข้ามของตัวลบ


ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลลบ


วิธีทำ                   
    

ตอบ


ตัวอย่างที่ 2  จงหาผลลบ


วิธีทำ



ตอบ  หรือ



ตัวอย่างที่ 3  จงหาผลลบ


วิธีทำ                
                                                                     


ตอบ

เศษส่วนไม่มีสมบัติการสลับที่สำหรับการลบ และเศษส่วนไม่มีสมบัติการเปลี่ยนหมู่สำหรับการลบ




             

การบวกเศษส่วน ดูได้ที่ลิงค์นี้




อ้างอิง : สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. 2562. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่ม 1. 7. กรุงเทพมหานคร